Introducing the new book "Modernization and food consumption in Myanmar"
Introducing the new book "Modernization and food consumption in Myanmar"
ประเภทข่าว : แนะนำหนังสือใหม่   วันที่ประกาศข่าว : 26 กุมภาพันธ์ 2561  แหล่งที่มา : หอสมุดกลาง สำนักวิทยบริการฯ   หน่วยงานที่ลงข่าว : หอสมุดกลาง สำนักวิทยบริการฯ
Introducing the new book
Author : Thapin Phatcharanuruk
Title : Modernization and food consumption in Myanmar
Call Number : 339.4864 T325M
Publisher : Bangkok : The Thailand research fund (TRF), 2015

สาระสังเขป 
Eating food is not simply the result of bio-natural forces, for what we eat, how we eat, when and where we eat, as well as who we eat with, are socially and culturally shaped, and are also affected by the economic and environmental conditions within which we live.This study looks at food consumption in Myanmar within a modernization context. It is based on an 18 month research project which ran from 15 January 2013 to 14 July 2014, and was the result of collaboration between the University of Traditional Medicine in Myanmar and Chiang Mai University in Thailand. It was financially supported by the Thailand Research Fund. It examines food consumption behaviours among families in Myanmar, the types of food consumed, the socio-economic factors related to food intake and the effects of industrialization and urbanization in Myanmar on food sources and food consumption patterns. 
This publication is divided into five chapters The first chapter covers the modernization, industrialization, health and food security situations in Myanmar. The second chapter begins with how modernization has impacted upon and changed food sources and food prices, and describes the effect urbanization has had on peoples ways of life, and the kinds of food they buy. The third chapter looks more specifically at a Burmese teashop, presenting how collective food consumption behaviour has changed as a result of urbanization and changes in the urban way of life. Moreover, the issue of food hybridization is highlighted in the context of the socio-economic dimensions of food consumption in urban Myanmar. The fourth chapter deals with the food consumption behaviours of the study participants; what they eat, how they prepare the food, when and with whom they eat, as well as the socio-economic factors influencing these aspects. The final chapter concludes by discussing issues of informalization, convenience and affordability, and how these as part of the country modernization-have led to changes in food consumption behaviour within Myanmar.

การกินอาหารไม่ได้เป็นเพียงแค่ผลมาจากพลังทางธรรมชาติชีวภาพ  สำหรับสิ่งที่เราทาน  เราทานอย่างไร  ที่ไหนและใครที่เราทานด้วย  ความสัมพันธ์ทางสังคมและวัฒนธรรมยังได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจและสภาพแวดล้อมภายในที่เราอาศัยอยู่  การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริโภคอาหารภายในประเทศพม่าภายใต้บริบทของความทันสมัย โดยใช้เวลา 18 เดือนในการวิจัยโครงการตั้งแต่วันที่ 15 มกราคม 2556 ถึงวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 เป็นความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยแพทย์แผนโบราณในพม่ากับมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ของไทย  โดยได้รับการสนับสนุนจากกองทุนวิจัยแห่งประเทศไทย ศึกษาถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหารของคนในพม่า, ชนิดของอาหารที่บริโภค, ปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกี่ยวข้องกับการบริโภคอาหารและผลกระทบจากอุตสาหกรรมและความเจริญเติบโตของเมืองในประเทศพม่ารวมถึงแหล่งอาหารและรูปแบบการบริโภค
หนังสือเล่มนี้แบ่งออกเป็น 5 บท  บทแรกพูดถึงความทันสมัย, อุตสาหกรรม, สุขภาพและสถานการณ์ความปลอดภัยด้านอาหารของพม่า  บทที่สองเริ่มด้วยความทันสมัยที่ส่งผลกระทบต่อการบริโภคอาหาร  การเปลี่ยนแหล่งและราคาอาหาร  การบรรยายถึงรูปแบบเมืองที่มีผลกระทบต่อวิถีชีวิตผู้คนและชนิดของอาหารที่พวกเขาซื้อ  บทที่สามมีลักษณะเฉพาะเจาะจงไปในร้านน้ำชาของพม่าซึ่งแสดงให้เห็นถึงพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่มีการเปลี่ยนแปลงเนื่องมาจากการเติบโตของเมืองและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของคนเมือง นอกจากนี้ยังมีประเด็นเรื่องการผสมข้ามสายพันธุ์อาหารโดยเน้นไปที่มิติทางเศรษฐกิจและสังคมของการบริโภคอาหารในพม่า บทที่สี่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารของผู้เข้าร่วมการวิจัย  สิ่งที่พวกเขากินวิธีการเตรียมอาหาร  และเวลาเมื่อไหร่ที่กินอาหารตลอดจนปัจจัยทางเศรษฐกิจและสังคมที่มีผลต่อประเด็นเหล่านี้  บทสุดท้ายเป็นบทสรุปที่พูดถึงเรื่องของการให้ข้อมูล  ความสะดวกและความสามารถในการจับจ่ายและวิธีการเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในความทันสมัยของประเทศซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหารภายในพม่า